ความคุ้มครองที่ซื้อเพิ่มเติมได้
|
|
- ภัยลมพายุ |
- ภัยเนื่องจากป่าเถื่อนและการกระทำด้วยเจตนาร้าย |
|
- ภัยจากลูกเห็บ |
- ภัยจลาจลและนัดหยุดงาน |
|
- ภัยจากควัน |
- ภัยแผ่นดินไหว |
|
- ภัยน้ำท่วม |
- ภัยระอุที่มีการลุกไหม้ / ระเบิด |
|
- ภัยระอุ |
- ภัยต่อเครื่องไฟฟ้า |
การขยายความคุ้มครองค่าเช่าที่อยู่อาศัยชั่วคราว
|
|
กรณีที่ทรัพย์สินที่เอาประกันได้รับความสูญเสียหรือเสียหายจากเหตุที่ระบุในความคุ้มครองดังกล่าว จะมีการขยายความคุ้มครอง ดังนี้ |
1. |
หากความสูญเสียหรือความเสียหายคิดเป็นมูลค่ามากกว่า 50 % ของมูลค่าการจัดการทดแทนสิ่งปลูกสร้างหรืออาคารที่เป็นการสร้างขึ้นใหม่
|
|
- สิ่งปลูกสร้างชั้น 1 (มีผนังก่ออิฐถือปูน มากกว่า 80 % ของพื้นที่ผนังทั้งหมด) บริษัทจะชดใช้ค่าเช่าที่อยู่อาศัยชั่วคราวเป็นจำนวนเงินไม่เกิน 1,000 บาท/วัน |
|
รวมแล้วไม่เกิน 50,000 บาทตลอดระยะเวลาเอาประกันภัย |
|
- สิ่งปลูกสร้างชั้น 2 (มีผนังก่ออิฐถือปูน 50-80 % ของพื้นที่ผนังทั้งหมด) หรือ สิ่งปลูกสร้างชั้น 3 (มีผนังเป็นวัสดุอื่นๆ เช่น ไม้ สังกะสี กระเบื้องแผ่นเรียบ มากกว่า |
|
50 % ของพื้นที่ผนังทั้งหมด) บริษัทจะชดใช้ค่าเช่าที่อยู่อาศัยชั่วคราวเป็นจำนวนเงินไม่เกิน 500 บาท/วัน รวมแล้วไม่เกิน 25,000 บาทตลอดระยะเวลาเอาประกันภัย |
2. |
หากความสูญเสียหรือความเสียหายคิดเป็นมูลค่าเท่ากับมูลค่าการจัดการทดแทนสิ่งปลูกสร้างหรืออาคารที่เป็นการสร้างขึ้นใหม่
|
|
- สิ่งปลูกสร้างชั้น 1 (มีผนังก่ออิฐถือปูน มากกว่า 80 % ของพื้นที่ผนังทั้งหมด) บริษัทจะชดใช้ค่าเช่าที่อยู่อาศัยชั่วคราวเป็นจำนวนเงินไม่เกิน 1,000 บาท/วัน |
|
รวมแล้วไม่เกิน 100,000 บาทตลอดระยะเวลาเอาประกันภัย สิ่งปลูกสร้างชั้น 2 (มีผนังก่ออิฐถือปูน 50-80 % ของพื้นที่ผนังทั้งหมด)
|
|
หรือ สิ่งปลูกสร้างชั้น 3 (มีผนังเป็นวัสดุอื่นๆ เช่น ไม้ สังกะสี กระเบื้องแผ่นเรียบ มากกว่า 50 % ของพื้นที่ผนังทั้งหมด) บริษัทจะชดใช้ค่าเช่าที่ |
|
อยู่อาศัยชั่วคราวเป็นจำนวนเงินไม่เกิน 500 บาท/วัน รวมแล้วไม่เกิน 50,000 บาทตลอดระยะเวลาเอาประกันภัย |
3. |
ในการเรียกร้องให้ชดใช้ตามการขยายความคุ้มครองนี้ ผู้เอาประกันภัยต้องส่งมอบเอกสารการชำระเงินค่าเช่าที่อยู่อาศัยชั่วคราวให้บริษัทเป็นหลักฐานโดยไม่ชักช้า
|
4. |
จำนวนเงินจำกัดความรับผิดของบริษัทภายใต้การขยายความคุ้มครองนี้ถิอเป็นความรับผิดเพิ่มเติมแยกจากจำนวนเงินเอาประกันภัยเฉพาะรายการสิ่งปลูกสร้าง
|
|
ที่ระบุในกรมธรรม์ |
การกำหนดจำนวนเงินเอาประกันภัย สามารถเลือกการกำหนดจำนวนเงินเอาประกันภัยได้ 2 แบบ คือ
|
1. |
แบบปกติ โดยการกำหนดจำนวนเงินเอาประกันตามมูลค่าที่แท้จริงของทรัพย์สิน ( Actual Cash Value) |
|
- การชดใช้ค่าสินไหมทดแทนบริษัทจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามมูลค่าที่แท้จริงทรัพย์สิน มูลค่าที่แท้จริงของทรัพย์สิน = มูลค่าทรัพย์สินที่เป็นของใหม่
|
|
หัก ด้วยค่าเสื่อมราคา ณ เวลาและสถานที่ที่เกิดความเสียหาย |
2. |
แบบการชดใช้ตามมูลค่าทรัพย์สินที่เป็นของใหม่ ( Replacement Cost Valuation หรือ New for Old)
|
|
- บริษัทจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตาม มูลค่าทรัพย์สินที่เป็นของใหม่ ณ เวลา และ สถานที่ที่เกิดความเสียหาย
|
ประโยชน์จากกรมธรรม์ประกันอัคคีภัย
|
1. |
ผู้เอาประกันภัยได้รับความคุ้มครองพื้นฐานเพิ่มขึ้น จากกรมธรรม์ประกันอัคคีภัย ซึ่งให้ความ คุ้มครองพื้นฐาน เพียง 3 ภัย ได้แก่ ไฟไหม้ ฟ้าผ่า และการระเบิด
|
ของแก๊สที่ใช้สำหรับทำแสงสว่าง หรือ ประโยชน์เพื่อการอยู่อาศัยเท่านั้น แต่กรมธรรม์ประกันอัคคีภัยสำหรับที่อยู่อาศัย ให้ความคุ้มครองพื้นฐานเพิ่มเป็น 6 ภัย |
ดังได้กล่าวไว้แล้วข้างต้น |
2. |
ให้ประโยชน์กรณีกำหนดจำนวนเงินเอาประกันภัยคลาดเคลื่อน
|
|
กรมธรรม์ประกันอัคคีภัย
|
กรมธรรม์ประกันอัคคีภัยสำหรับที่อยู่อาศัย
|
ถ้าหากจำนวนเอาเงินประกันน้อยกว่ามูลค่าที่แท้จริง ของ
ทรัพย์สิน การชดใช้ค่าสินไหมทดแทนจะลดลง ตามหลัก
การเฉลี่ย
|
ถ้าหากจำนวนเอาเงินประกันคลาดเคลื่อนจากมูลค่า ที่แท้จริงแต่ยังไม่ต่ำกว่า
ร้อยละ 70 ของมูลค่าทรัพย์สิน เมื่อเกิดความ เสียหาย เพียงบางส่วน บริษัท
ประกันภัยจะชดใช้ค่าสินไหม เสมือนกับที่ได้ ทำประกันไว้เต็มมูลค่า
|
|
|
|
|
|
|
(หลักการเฉลี่ย หมายถึง ในกรณีที่จำนวนเงินเอาประกันต่ำกว่ามูลค่าที่แท้จริงของทรัพย์สินจะถือว่าผู้ เอาประกันภัยได้เอาประกันตัวเองในส่วนต่างนั้น บริษัท |
ประกันภัยจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนลดลงตามส่วน) |
3. |
เพิ่มเงื่อนไขให้บริษัทต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทนพร้อมทั้งดอกเบี้ยในฐานะลูกหนี้ผิดนัดในอัตราร้อยละ 15 ต่อปี
|
4. |
ข้อดีที่เห็นได้ชัดเจนของ “ กรมธรรม์ประกันอัคคีภัยสำหรับที่อยู่อาศัย ” คือ เรื่องเบี้ยประกันภัย โดยผู้เอาประกันภัย จ่ายเบี้ยประกันภัยเท่ากับการประกันอัคคีภัย
|
|
ทั่วไป ได้รับความคุ้มครองที่กว้างกว่า โดยไม่ต้องซื้อความคุ้มครอง |
|
เพิ่มเติมให้มีความคุ้มครองเท่ากับกรมธรรม์ประกันอัคคีภัยสำหรับที่อยู่อาศัย
|
ข้อแนะนำในการเลือกทำประกันภัยที่อยู่อาศัย
|
|
- ควรทำประกันภัยที่อยู่อาศัยระยะยาว กล่าวคือ ถ้าหากการประกันภัยระยะยาว 2 ปี หรือ 3 ปี จะได้รับส่วนลดเบี้ยประกันภัยระยะยาวแตกต่างกัน ซึ่งถ้าหากทำ |
ประกันภัยระยะยาว 2 ปี บริษัทจะคิดเบี้ยเท่ากับ 175 % ของเบี้ยประกันภัย 1 ปี และถ้าหากทำประกันภัยระยะยาว 3 ปี บริษัทจะคิดเบี้ยเท่ากับ 250 % ของเบี้ยประกันภัย |
1 ปี ทั้งนี้การทำประกันอัคคีภัย สำหรับที่อยู่อาศัยระยะยาวนี้สามารถทำได้สูงสุดถึง 30 ปี และจะได้รับประโยชน์จากการลดเบี้ยประกันภัยที่เพิ่มขึ้น
ที่มา songserm.co.th
|